Software Robot คำตอบที่ทำให้พนักงานทำงานอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

นี่เป็นบทความของ Guy Kirkwood  เขากล่าวเอาไว้ว่า เทคโนโลยี RPA กำลังจะกลายเป็นเรื่องธรรมดาในสำนักงานที่ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการทำงานเพิ่มขึ้น พนักงานมีอิสระในการทำงานมากขึ้น สำหรับในด้านกลยุทธ ถือว่าเป็นเรื่องที่สำคัญมาก ผลการสำรวจของ Economic Forum พบว่า 65% ของเด้กที่อยู่ในชั้นประถม จะไม่ได้ทำงานที่มีอยู่ในปัจจุบัน การวิจัยของ Forrester ได้เปิดเผยว่า  57% ของคนที่ทำงานและเจ้าของธุรกิจเริ่มเห็นประโยชน์และยอมรับ RPA มากขึ้น ผลสำรวจของ Gallup พบว่า 87% ของพนักงานทั่วโลก ไม่ได้ทำงานอย่างเต็มที่และบริษัทต้องเสียค่าจ้างสำหรับส่วนนี้ 52-70 พันล้านปอนด์/ปีของสหราชอนาจักร สาเหตุเกิดจาก พนักงานลาป่วย และ ลาออกมากขึ้น เนื่องจากไม่มีกำลังใจในการทำงาน หากทุกคนในองค์กรสามารถทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น 10 %  ภายใน 1 ปี  บริษัทก็จะได้ผลประโยชน์ที่มากขึ้น ในส่วนนี้ RPA สามารถช่วยได้ จากผลสำรวจผู้บริหารระดับ C และกรรมการอาวุโสที่นำ RPA เข้ามาใช้พบว่า 52% มีผลผลิตที่เพิ่มขึ้น 43%  และในอีก 2 ปีข้างหน้า ประโยชน์ของ RPA จะต้องเพิ่มมากกว่านี้แน่ สำหรับคนทำงานทั่วไปที่ทำและมีความเหนื่อยหน่ายกับงานที่ทำอยู่ บริษัทสามารถนำ RPA เข้ามาช่วยเป็นแรงจุงใจที่จะทำให้พนักงานอยากทำงานมากขึ้น บริษัทที่ใหญ่ในโลกหรือ PWC ได้กล่าวว่าในอนาคตจะมีการทำงานที่ใช้การวมตัวของAI และ หุ่นยนต์ในปี

Hello World ใน UiPath หน้าตาเป็นยังไงน้า

เราคงจะเห็นเวลาเขียนโค้ดด้วยภาษาต่างๆที่ต้องการให้แสดงคำว่า  “Hello World” ซึ่งก็มีวิธีที่กาง่ายแตกต่างกันไป เรามาดูกันว่า Hello World ใน UiPath  จะหน้าตาเป็นยังไง หน้าตาของโปรแกรม UiPath Studio สิ่งที่เราต้องทำก็คือค้นหาคำว่า Message box ใน Activity tab แล้วลากเจ้า Message box  มาวางที่หน้า Design จากนั้นพิมพ์คำว่า  “Hello World” ลงไปในช่อง Message box จากนั้นไปที่ Tab Design กดที่เครื่องหมาย play ที่มีคำว่า Debug แล้วมารอดูผลลัพท์กัน ทะแด้นนน เราได้คำว่า Hello World เป็น Message box แล้วง่ายไหมหละ   อันนี้ก็เป็นตัวอย่างแบบง่ายๆ ที่ Admin ลองยกตัวอย่างให้ดูจ้า เห็นไหม Uipath ง่ายจริงๆ น้า ถ้ามีข้อสงสัยหรืออยากสอบถามข้อมูลเพิมเติม ติดต่อเราได้ที่ Facebook : gorpaofficial จ้า

Platform หรือ Product ของ UiPath

Product หลักของทาง Uipath มี 3 ตัวด้วยกัน คือ Studio orchestrator และ Robot เรามาดันว่าเจ้า 3 ตัวนี้มีฟังก์ชั่นที่แตกต่างกันยังไง 1. UiPath Studio  หรือ โปรแกรมในส่วนของผู้ออกแบบโปรเซส หรือ Developer เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการออกแบบโปรเซสของงาน โดยสามารถใช้งานได้ง่ายมา เพราะใช้ Code แค่นิดเดียว ส่วนมากจะเป็นการ Drag & Drop Activity  หรือการจับเครื่องมือนั้นมาวางในแผ่นงานนั่นเอง  จึงทำให้ตัวโปรแกรมนี้สามารถใช้ได้ในกลุ่มคนที่หลากหลาย ไม่จะเป็นจะต้องเป็น Developer อย่างเดียว แม้แต่คนที่ไม่ค่อยมีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ก็สามารถเข้ามาเรียนรู้ได้ UiPath จึงได้เป็นที่ยอมรับในระดับต้นๆ ของ RPA Software นั่นเอง 2. UiPath Orchestrator เรียกง่ายๆ คือเป็นส่วนที่ควบคุม หรือ เปรียบเหมือนหัวหน้างานนั่นเอง Uipath Orchestrator จะรับตัวโปรเซสที่เราทำเสร็จแล้วใน UiPath Studio มาจัดการต่อโดยจะทำหน้าที่ในการจัดคิวการทำงานของโปรเซส มีส่วนสรุปผลการทำงานเป็น Dashboard ให้เราสามารถจัดการ Robot ได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น 3. UiPath Robot หรือผู้ปฏิบัติงานของเรานั่นเอง UiPath Robot มีหน้าทีในการนำโปรเซสที่รับมาจาก  Uipath Studio